วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

History
History of the United States dollar

Rare 1934 $500 Federal Reserve Note, featuring a portrait of President William McKinley.
The first dollar coins issued by the United States Mint were of the same size and composition as the Spanish dollar and even after the American Revolutionary War the Spanish and U.S. silver dollars circulated side by side in the United States. The coinage of various English colonies also circulated. The lion dollar was popular in the Dutch New Netherland Colony (New York), but the lion dollar also circulated throughout the English colonies during the seventeenth and early eighteenth centuries. Examples circulating in the colonies were usually worn so that the design was not fully distinguishable, thus they were sometimes referred to as "dog dollars".The U.S. dollar was originally created and defined by the Coinage Act of 1792. It specified a "dollar" to be between 371 and 416 grains (27.0 g) of silver (depending on purity) and an 'eagle" to be between 247 and 270 grains (17 g) of gold (again depending on purity). It set the value of an eagle at 10 dollars, and the dollar at 1/10th eagle. It called for 90% silver alloy coins in denominations of 1, 1/2, 1/4, 1/10, and 1/20; it called for 90% gold alloy coins in denominations of 1, 1/2, 1/4, and 1/10.
The value of gold or silver contained in the dollar was then converted into relative value in the economy for the buying and selling of goods. This allowed the value of things to remain fairly constant over time, except for the influx and outflux of gold and silver in the nation's economy. According to an evaluation of data from the U.S. Department of Treasury, the cost of goods and services remained relatively consistent between 1635 and 1913, around a level of roughly 25 times the buying power of the U.S. dollar in 2006[citation needed].
For articles on the currencies of the colonies and states, see Connecticut pound, Delaware pound, Georgia pound, Maryland pound, Massachusetts pound, New Hampshire pound, New Jersey pound, New York pound, North Carolina pound, Pennsylvania pound, Rhode Island pound, South Carolina pound and Virginia pound.

Continental currency
Continental One Third Dollar Note (obverse)
In 1775, the United States and the individual states began issuing "Continental Currency" denominated in Spanish dollars and (for the issues of the states) the £sd currencies of the states. The dollar was valued relative to the states' currencies at the following rates:
State
Value of Dollarin State Currency
Georgia
5 Shillings
Connecticut, Massachusetts, New Hampshire, Rhode Island, Virginia
6 Shillings
Delaware, Maryland, New Jersey, Pennsylvania
7½ Shillings
New York, North Carolina
8 Shillings
South Carolina
32½ Shillings
The continental currency suffered from printing press inflation and was replaced by the silver dollar at the rate of 1 silver dollar = 1000 continental dollars.

Silver and gold standards
From 1792, when the Mint Act was passed, the dollar was pegged to silver and gold at 371.25 grains of silver, 24.75 grains (1.604 g) of gold (15:1 ratio). 1834 saw a shift in the gold standard to 23.2 grains (1.50 g), followed by a slight adjustment to 23.22 grains (1.505 g) in 1837 (16:1 ratio).[citation needed]
In 1862, paper money was issued without the backing of precious metals, due to the Civil War. Silver and gold coins continued to be issued and in 1878 the link between paper money and coins was reinstated. This disconnect from gold and silver backing also occurred during the War of 1812. The use of paper money not backed by precious metals had occurred under the Articles of Confederation from 1777 to 1788 when paper money became referred to as "not worth a continental". This was a primary reason for the "No state shall... make any thing but gold and silver coin a tender in payment of debts" clause in article 1, section 10 of the United States Constitution.
In 1900, the bimetallic standard was abandoned and the dollar was defined as 23.22 grains (1.505 g) of gold, equivalent to setting the price of 1 troy ounce of gold at $20.67. Silver coins continued to be issued for circulation until 1964, when all silver was removed from dimes and quarters, and the half dollar was reduced to 40% silver. Silver half dollars were last issued for circulation in 1969.
Gold coins were consficated in 1933 and the gold standard was changed to 13.71 grains (0.888 g), equivalent to setting the price of 1 troy ounce of gold at $35. This standard persisted until 1968. Between 1968 and 1975, a variety of pegs to gold were put in place. The price was at $42.22 per ounce before January 1, 1975[citation needed] saw the U.S. dollar freely float on currency markets.
According to the Bureau of Printing and Engraving, the largest note it ever printed was the $100,000 Gold Certificate, Series 1934. These notes were printed from December 18, 1934 through January 9, 1935, and were issued by the Treasurer of the United States to Federal Reserve Banks only against an equal amount of gold bullion held by the Treasury. These notes were used for transactions between Federal Reserve Banks and were not circulated among the general public.

Coins
Main article: Coins of the United States dollar
Official United States coins have been produced every year from 1792 to the present. In normal circulation today, there are coins of the denominations 1¢ ([one] cent, also referred to as a penny), 5¢ (nickel), 10¢ (dime), 25¢ (quarter dollar officially, or simply quarter in common usage), 50¢ (half dollar officially, sometimes referred to as a fifty-cent piece), and $1 (dollar officially, but frequently referred to as a dollar coin).

Dollar coins
Dollar coins have not been very popular in the United States.[8] Silver dollars were minted intermittently from 1794 through 1935; a copper-nickel dollar of the same large size, featuring President Dwight D. Eisenhower, was minted from 1971 through 1978. Gold dollars were also minted in the 1800s. The Susan B. Anthony dollar coin was introduced in 1979; these proved to be unpopular because they were often mistaken for quarters, due to their nearly-equal size, their milled edge, and their similar color. Minting of these dollars for circulation was suspended in 1980 (collectors' pieces were struck in 1981), but, as with all past U.S. coins, they remain legal tender. As the number of Anthony dollars held by the Federal Reserve and dispensed primarily to make change in postal and transit vending machines had been virtually exhausted, additional Anthony dollars were struck in 1999. In 2000, a new $1 coin featuring Sacagawea was introduced, which corrected some of the mistakes of the Anthony dollar by having a smooth edge and a gold color, without requiring changes to vending machines that accept the Anthony dollar. However, this new coin has failed to achieve the popularity of the still-existing $1 bill and is rarely used in daily transactions. The failure to simultaneously withdraw the dollar bill and weak publicity efforts have been cited by coin proponents as primary reasons for the failure of the dollar coin to gain popular support. There are indications that the dollar coin's failure was also due to the unwillingness of armored transport companies to make the necessary adjustments to handle the new coins, and the government's reluctance to mandate it. The result of the armored carriers' unwillingness to handle the new coins was that they virtually never reached merchants in quantities sufficient to be given out as change on a routine basis, or for retail clerks to become used to handling them.
In February 2007, the US Mint, under the Presidential $1 Coin Act of 2005,
introduced a new $1 US Presidential dollar coin. Based on the success of the "50 State Quarters" series, the new coin features a rotating portrait of deceased presidents in order of their inaugurations, starting with George Washington, on the obverse side. The reverse side features the Statue of Liberty. To allow for larger, more detailed portraits, the traditional inscriptions of "E Pluribus Unum," "In God We Trust," the year of minting or issuance, and the mint mark will be inscribed on the edge of the coin instead of the face. This feature, similar to the edge inscriptions seen on the British £1 coin, is not usually associated with US coin designs. The inscription "Liberty" has been eliminated, with the Statue of Liberty serving as a sufficient replacement. In addition, due to the nature of US coins, this will be the first time there will be circulating US coins of different denominations with the same President featured on the obverse (heads) side. (Lincoln/penny, Jefferson/nickel, Franklin D. Roosevelt/dime, Washington/quarter and Kennedy/half dollar.) Another unusual fact about the new $1 coin is Grover Cleveland will have two coins with his portrait issued due to the fact he was the only US President to be elected to two non-consecutive terms.Early releases of the Washington coin included error coins shipped primarily from the Philadelphia mint to Florida and Tennessee banks. Highly sought after by collectors, and trading for as much as $850 each within a week of discovery, the error coins were identified by the absence of the edge impressions "E PLURIBUS UNUM IN GOD WE TRUST 2007 P". The mint of origin is generally accepted to be mostly Philadelphia, although identifying the source mint is impossible without opening a mint pack also containing marked units. Edge lettering is minted in both orientations with respect to "heads", some amateur collectors were initially duped into buying "upside down lettering error" coins.Some cynics also erroneously point out that the Federal Reserve makes more profit from dollar bills than dollar coins because they wear out in a few years, whereas coins are more permanent. The fallacy of this argument arises because new notes printed to replace worn out notes which have been withdrawn from circulation bring in no net revenue to the government to offset the costs of printing new notes and destroying the old ones. As most vending machines are incapable of making change in banknotes, they commonly accept only $1 bills, though a few will give change in dollar coins.

Other denominations
The United States has minted other coin denominations at various times from 1792 to 1935: half-cent, 2-cent, 3-cent, 20-cent, $2.50 (Quarter Eagle), $3.00, $5.00 (Half Eagle), $10.00 (Eagle), $20.00 (Double Eagle) and $50.00 (Half Union). Technically, all these coins are still legal tender at face value, though they are far more valuable today for their numismatic value, and for gold and silver coins, their precious metal value. In addition, an experimental $4.00 (Stella)coin was also minted, but never placed into circulation and is properly considered to be a pattern rather than an actual coin denomination. 1 dollar gold pieces were also made, and are the smallest American coin ever to be made. Half dimes preceded the nickel 5 cent piece for about the first half of the 19th century.The $50 coin mentioned was only produced in 1915 for the Panama-Pacific International Exposition (1915) celebrating the opening of the Panama Canal. Only 1,128 were made, 645 of which were octagonal; this remains the only US coin that was not round as well as the largest and heaviest US coin ever. (The Susan B. Anthony dollar was round in shape; only the frame of the images on either side was decagonal.From 1934 to present the only denominations produced for circulation have been the familiar penny, nickel, dime, quarter, half dollar and dollar. The nickel is the only coin still in use today that is essentially unchanged (except in its design) from its original version. Every year since 1866, the nickel has been 75% copper and 25% nickel, except for 4 years during World War II when nickel was needed for the war.

Collectors' coins
Since 1982 the United States Mint has also produced many different denominations and designs specifically for collectors and speculators. There are silver, gold and platinum bullion coins, called "American Eagles," all of which are legal tender though their use in everyday transactions is non-existent. The reason for this is that they are not intended for use in transactions and thus the face value of the coins is much lower than the worth of the precious metals in them. The American Silver Eagle bullion coin is issued only in the $1 (1 troy ounce) denomination and has been minted yearly starting in 1986. The American Gold Eagle bullion coin denominations (with gold content), minted since 1986, are: $5 (1/10 troy oz), $10 (1/4 troy oz), $25 (1/2 troy oz), and $50 (1 troy oz). The American Platinum Eagle bullion coin denominations (with platinum content), minted since 1997, are: $10 (1/10 troy oz), $25 (1/4 troy oz), $50 (1/2 troy oz), and $100 (1 troy oz). The silver coin is 99.9% silver, the gold coins are 91.67% gold (22 karat), and the platinum coins are 99.95% platinum. These coins are not available from the Mint for individuals but must be purchased from authorized dealers. In 2006 The Mint began direct sales to individuals of uncirculated bullion coins with a special finish, and bearing a "W" mintmark. The Mint also produces high quality "proof" coins intended for collectors in the same denominations and bullion content which are available to individuals.

วันพุธที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วิกฤตน้ำมันแพง


รัฐมนตรีพลังงานเยือนซาอุดีอาระเบีย ร่วมประชุมรัฐมนตรีพลังงานโลก โดยมีกว่า 20 ประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วม เพื่อหาลู่ทางแก้ไขปัญหาราคาน้ำมันแพง สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน และกระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ซาอุฯ เพิ่มขึ้น ด้านวงการน้ำมันมองปัญหานิวเคลียร์อิหร่านยังไม่จบง่ายหากไม่คลี่คลายราคาน้ำมันดิบจะทรงตัวระดับสูงเพื่อรอข่าวรายวัน หากใช้กำลังสู้รบน้ำมันดิบมีโอกาสพุ่งถึง 100 เหรียญต่อบาร์เรล ขณะที่ขายปลีกของไทยหากไม่ได้อานิสงค์บาทแข็งช่วยไว้ 2 บาทต่อลิตรเบนซินทะลุ 30 บาทต่อลิตรไปแล้ว นายคุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า ในระหว่างวันที่ 1-3 พฤษภาคม 2550 นี้ กระทรวงพลังงาน นำโดย นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน พร้อมผู้บริหารระดับสูงจะได้เดินทางไปเยือนประเทศซาอุดีอาระเบียอย่างเป็นทางการ เพื่อเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีพลังงานโลก และความร่วมมือพลังงานของทวีปเอเชีย (International Energy Forum and 2nd Asian Roundtable Program) โดยภายในการประชุมครั้งนี้ นับเป็นการหารือร่วมกันระดับรัฐมนตรีพลังงานของชาติในทวีปเอเชียมากกว่า 20 ประเทศ ทั้งจากกลุ่มผู้ผลิตน้ำมัน (โอเปก) เช่น ประเทศซาอุดีอาระเบีย อิหร่าน คูเวต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โอมาน และกลุ่มผู้ใช้น้ำมัน เช่น ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย จีน รวมทั้งประเทศไทย ทั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทยจะได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศผู้ผลิตและผู้ใช้พลังงาน การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานร่วมกันระหว่างประเทศในเอเชีย การกำหนดทิศทางของนโยบายด้านพลังงานในอนาคต รวมทั้งแนวทางการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนไทย อาทิ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. และบริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) ได้เข้าไปทำธุรกิจในตะวันออกกลางเพิ่มเติม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศโอมานมาแล้ว โดยในที่ประชุมยังจะมีการพูดคุยถึงสถานการณ์ราคาน้ำมันที่ปรับเพิ่มขึ้น และการแก้ไขปัญหาในระยะยาว ตลอดจนการพัฒนาพลังงานทดแทน และความร่วมมือเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ตลอดจนแลกเปลี่ยนความเห็นและเสริมสร้างเครือข่ายกับผู้ร่วมประชุม นอกจากนี้ การเยือนประเทศซาอุดีอาระเบียในครั้งนี้ยังจะเป็นการกระชับความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศไทย และประเทศซาอุดีอาระเบียเพิ่มขึ้นอีกด้วย กรณีอิหร่าน-สัญญาณเตือนน้ำมันดิบมีโอกาสแตะ100เหรียญ แหล่งข่าวจากวงการน้ำมัน เปิดเผยว่า แม้ว่าสถานการณ์ราคาน้ำมันตลาดโลกล่าสุดหลังอิหร่านปล่อยทหารของอังกฤษแล้วมีราคาอ่อนลงแต่ทิศทางการเคลื่อนไหวต่อแผนการผลิตนิวเคลียร์ของอิหร่านจะยังคงเป็นประเด็นต้องจับตามองต่อไปเพราะตลาดยังคงอ่อนไหวกับข่าวดังกล่าวหากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดอีกโอกาสที่ราคาน้ำมันดิบจะสวิงตัวสูงยังคงมีและหากสหรัฐอเมริกาเลือกการใช้กำลังทหารแก้ไขปัญหานักวิเคราะห์บางสำนักมองว่าจะทำให้ราคาน้ำมันดิบอาจเคลื่อนไหวไประดับ 100 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลจากปัจจุบันที่อยู่ในระดับ 60 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ส่วนน้ำมันสำเร็จรูปจะปรับขึ้นไปจากระดับ 80 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ไปอยู่ที่ 110 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล “ ขณะนี้ค่าตกใจจากสถานการณ์อิหร่านบวกเข้าไปในเนื้อน้ำมันไม่น้อยกว่า 6-8 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลแล้ว ซึ่งปัจจัยที่ยังคงต้องมองอยู่คือความตึงเครียดระหว่างสหรัฐกับอิหร่านที่จะมีผลต่อจิตวิทยาส่งผลให้ผู้ค้าน้ำมันกังวลว่าจะมีการใช้กำลังทางทหารเพื่อแก้ไขปัญหาและจะส่งผลให้การส่งออกน้ำมันดิบอิหร่านที่เป็นผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับ 4 ของโลกสะดุดลงจึงทำให้ราคาน้ำมันยังคงทรงตัวระดับสูงเพื่อที่จะกลับไปวิ่งขึ้นใหม่เมื่อมีข่าวร้ายเกิดขึ้น”แหล่งข่าวกล่าว ทั้งนี้ หากพิจารณาราคาน้ำมันดิบปี 2549 ราคาสูงสุดน้ำมันดิบตลาดดูไบอยู่ที่ 72.29 เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล เบนซิน 95 ตลาดสิงคโปร์อยู่ที่ 90.65 เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล ดีเซลอยู่ที่ 89.79 เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล ขณะที่ราคาน้ำมันดิบตลาดโลกปัจจุบันสูงกว่าราคาเฉลี่ยของปี 2549 แล้ว ส่วนราคาขายปลีกของไทยเมื่อปี 49 ที่ถือว่าแพงที่สุดในประวัติการณ์ ช่วงเดือนส.ค. 49 เบนซิน 95 อยู่ที่ 30.59 บาท/ลิตร ดีเซลแพงสุดช่วงเดือนก.ค.49 ที่ 27.94 บาท/ลิตร ขณะที่เริ่มต้นปี 2550 ในช่วงเม.ย.นี้ราคาน้ำมันขายปลีกของไทยเบนซินอยู่ในระดับ 28 กว่าบาทต่อลิตรซึ่งหากไม่ได้รับอานิสงค์จากค่าเงินบาทที่แข็งค่าก็จะทำให้ราคาเบนซินสูงทะลุ 30 บาทต่อลิตรแล้วเช่นกันแต่บาทที่แข็งค่าได้ส่งผลให้ช่วยลดผลกระทบต่อราคาน้ำมันไปเฉลี่ยกว่า 2 บาทต่อลิตร แหล่งข่าว กล่าวว่า หากสถานการณ์ยังคงตึงเครียดโอกาสที่เบนซินขายปลีกในไทยจะแตะระดับ 30 บาทต่อลิตรเช่นเดียวกับปี 2549 ที่เป็นระดับสูงสุดก็มีสูงในช่วงเม.ย. นี้เพราะเริ่มเข้าสู่ฤดูท่องเที่ยวในยุโรปและสหรัฐที่จะมีการใช้น้ำมันเบนซินเพิ่มขึ้นมาก และระยะสั้นดีเซลก็มีโอกาสที่จะเห็นระดับทะลุ 25 บาทต่อลิตร แต่ดีเซลจะยังไม่น่ามีโอกาสขึ้นไปเทียบกับราคาสูงสุดของปี 2549 ในช่วง1-2 เดือนนี้ นายเมตตา บันเทิงสุข อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน(ธพ.) กล่าวว่า วิกฤติน้ำมันของโลกเกิดขึ้นมาแล้ว 3 ครั้งแล้วหากสหรัฐใช้กำลังทหารกับอิหร่านเพื่อแก้ไขปัญหาโครงการนิวเคลียร์ก็จะถือเป็นวิกฤติครั้งที่ 4 ที่ไทยก็จะต้องเผชิญกับราคาน้ำมันแพงซึ่งกรณีเกิดขึ้นจริงรัฐบาลได้มีมาตรการที่เตรียมไว้พร้อมอยู่แล้วโดยเมื่อเร็วๆนี้ได้มีการประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนราชการและเอกชน เพื่อปรับปรุงมาตรการแก้ปัญหาน้ำมันขาดแคลนใหม่ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปที่เมื่อเกิดเหตุการณ์จริงก็พร้อมประกาศใช้ทันที นายเทียนไชย จงพีร์เพียร ที่ปรึกษาสำนักนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) กล่าวว่า ในระยะ 1-2 เดือนนี้คงจะต้องติดตามราคาเบนซินเพราะกำลังเข้าสู่ฤดูท่องเที่ยวของสหรัฐและยุโรปที่จะมีผลต่อความต้องการใช้สูง อย่างไรก็ตามเบนซินจะทะลุ 30 บาทต่อลิตรหรือไม่อยู่ที่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐและอิหร่านเป็นหลักหากทุกอย่างคลี่คลายและจบโดยเร็วเชื่อว่าจะไม่มีผลแต่เหตุการณ์ยังคงอึมครึมต่อไปโอกาสก็มีสูงเช่นกันซึ่งยากที่จะคาดเดาได้

วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ย้อนไปเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 กองทัพทหาร และประชาชนได้พร้อมใจกันบุกคุกบาสติลย์ (Bastilles) เพื่อปลดปล่อย นักโทษ การเมือง ให้เป็นอิสระ อันคุกบาสติลย์นี้ถือว่าเป็นเครื่องหมายของการบีบบังคับและความอยุติธรรม ซึ่งเกิดจากการปกครอง โดยกษัตริย์ ที่ไร้ ทศพิธราชธรรม จึงประกาศวันที่ได้รับการปลดปล่อยนี้ให้เป็น..วันชาติของฝรั่งเศส (La Fête Nationale)
เมื่อหลายร้อยปีก่อน ประเทศฝรั่งเศสมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งถึงปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งราชวงศ์บูรบอง (Bourbon)บ้านเมืองอยู่ในระยะของสงครามอังกฤษ เพื่อแย่งชิงอาณานิคม ทำให้การเงินการคลังของประเทศล้มละลาย ประชาชนมีความเป็นอยู่อย่างอัตคัดขาดแคลน แต่ในทางกลับกัน ราชสำนักกลับมีความเป็นอยู่อย่างหรูหรา ฟุ่มเฟือย ชนชั้นขุนนางได้รับการยกเว้น ภาษี ส่วนประชาชน ที่มีความยากจนอยู่แล้วต้องถูกทางการรีดภาษีอย่างหนัก ทำให้เกิดความไม่พอใจอย่างมาก
ในตอนนั้น ชนชั้นกลางมีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เนื่องจากชนกลุ่มนี้มีการศึกษาดี ร่ำรวย แต่ไม่มี สิทธิในทาง การเมือง การปกครอง เทียบเท่าชนชั้นพระ และชนชั้นขุนนาง จึงต้องการเปลี่ยนแปลงระบบเก่า และได้กุมอำนาจทางเศรษฐกิจเอาไว้ โดยเข้าร่วม การปฏิวัติในอเมริกา ซึ่งมีสาระสำคัญในทางทฤษฎีว่าด้วยสิทธิิ ตามธรรมชาติิของมนุษย์ และสองนักปราชญ์แห่งยุคคือ วอลแตร์ กับ มองเตสกิเออ นำทฤษฎีดังกล่าวมาสอนประชาชน ในขณะเดียวกัน มาควิส เดอ ลา ฟาแยตต์ (Marquis de la Fayett) ซึ่งทำสงคราม ช่วยเหลือ ชาวอาณานิคม ในอเมริกาต่อต้านอังกฤษจนได้ชัยชนะ ก็นำความคิดนี้มาเผยแพร่ จึงทำให้ ประชาชนชาวฝรั่งเศส ดิ้นรนเรียกร้อง ให้ได้มาซึ่งสิทธิและเสรีภาพยิ่งขึ้น
เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1789 ประชาชนซึ่งมีความเป็นอยู่อย่างแร้นแค้น ได้บุกเข้าปล้นสะดมบ้านของพวกขุนนาง กรุงปารีสมีแต่่ ความวุ่นวาย ชนชั้นกลางได้รวมตัวกันก่อตั้งกองทหารรักษาการณ์แห่งชาติเข้าร่วม กับประชาชนทำลายคุกบาสติลย์ ซึ่งเท่ากับว่า เป็นการปลดแอกอำนาจการปกครองโดยกษัตริย์ นับเป็นการปฏิวัติครั้งใหญ่ยิ่ง และสำคัญของโลก
ผลกระทบของเหตุการณ์ได้แพร่ไปสู่ประเทศอื่นๆในยุโรป โดยเฉพาะในรัสเซีย กล่าวคือระยะแรกของการปฏิวัติ ประมาณปี ค.ศ. 1791ได้มีการ ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาใช้ กษัตริย์ต้องอยู่ใต้กฎหมาย และรัฐสภา ก็มีเพียงสภาเดียว คือ สภานิติบัญญัติ ชนชั้นกรรมาชีพมีบทบาทในการปกครอง แต่ด้วยความเกรงกลัวว่า การล้มล้างสถาบันกษัตริย์ ์จะแพร่ขยายไปทั่วยุโรป ทำให้ออสเตรียและปรัสเซียยกทัพรุกฝรั่งเศสแต่ไม่สำเร็จ ทางสภานิติบัญญัติจึงยกเลิกระบบ ราชาธิปไตยและประกาศเป็นประเทศสาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 และตั้งสภาใหม่ขึ้นมา และในปี 1793 ก็ได้สำเร็จโทษพระเจ้าหลุยส์และพระนางมารี อังตัวเนต์ด้วยการประหารชีวิตด้วยเครื่องประหาร กิโยตีน แม้ผลการปฏิวัติจะสำเร็จ แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังมีฐานะยากจนเหมือนเดิม รัฐบาลยังมุ่งแต่กอบโกยผลประโยชน์กัน จนมีบุคคลคนหนึ่งแสวงหาอำนาจโดย เป็นเครื่องมือ ให้ประชาชนเลื่อมใส และยึดอำนาจการปกครองมาเป็นของตน บุคคลผู้นี้คือ นโปเลียน โบนาปาร์ต

นโปเลียนได้กลายเป็นวีรบุรุษของชาติเพราะอาศัยความล้มเหลวของรัฐบาลสถาปนาตนเป็นแม่ทัพใหญ่คุมกองทัพ ออกไปรบชนะออสเตรเลียในปี ค.ศ.1797 ทั้งยังแพร่ขยายอาณาเขตไปทั่วยุโรป จนปี ค.ศ. 1804 ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดินโปเลียน และพยายาม ที่จะครอบครอง รัซเซียให้ได้ จึงทำสงคราม กับรัสเซีย และเป็นครั้งแรก ที่นโปเลียนแพ้ ทำให้ชนชาติต่างๆที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเกิดกำลังใจที่จะต่อต้าน เมื่อนโปเลียน ได้ถูกเนรเทศไปยังเกาะอัลบา พระเจ้าหลุยส์ได้กลับมาครองราชย์ใหม่แต่เพียงระยะสั้นๆ ในปี ค.ศ.1815 นโปเลียนหนีกลับมาได้ อีกครั้งและประกาศตนเป็นจักรพรรดิ รวบรวมกำลังทหารเข้าต่อสู้กับ ฝ่ายพันธมิตร ต่างๆ เกิดสงครามวอเตอร์ลูขึ้น แต่ฝรั่งเศสก็รบแพ้ ทำให้ นโปเลียนถูกส่งขังที่เกาะเซนต์เฮเลนา นับเป็นการสิ้นสุดการครอง บัลลังก์เพียง 100 วันของนโปเลียน แล้วเขาก็เสียชีวิตบนเกาะนี้
ในปี ค.ศ. 1821 พระ เจ้าหลุยส์ที่ 18 กลับมาขึ้นครองราชย์อีกครั้ง แต่พระอนุชาคือ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงพยายาม ฟื้นฟูระบบเก่าขึ้นมาอีก จึงมีการปฏิวัติขึ้นอีก พระเจ้าหลุยส์ฟิลิปซึ่งดำรงตำแหน่งกษัตริย์อยู่ ได้ถูกเนรเทศออกนอก ประเทศ และต่อมาก็ได้มีการสถาปนา สาธารณรัฐขึ้น เป็นครั้งที่ 2 โดยมีหลุยส์นโปเลียนทำการรัฐประหารตั้งตัวเองขึ้น เป็นจักรพรรดิ ซึ่งพระองค์ทำให้ชาติฝรั่งเศสมีความเข้มแข็ง มั่นคงขึ้น สภาพทุกอย่าง ในประเทศดีขึ้น และมีการขยาย อาณานิคมไปยังประเทศต่างๆ
ในปี ค.ศ. 1860 พระเจ้าหลุยส์นโปเลียน สถาปนาจักรพรรดิฝรั่งเศสในเม็กซิโกแต่ไม่สำเร็จ เพราะ ถูกอเมริกา ขัดขวางไว้ และยังต้องทำ สงคราม กับปรัสเซียอีก ฝรั่งเศสก็เป็นฝ่ายแพ้อีกครั้งและต้องเสียดินแดนในแคว้นอัลซาสให้แก่ ปรัสเซีย อีกด้วย ซึ่งทำให้พระองค์ต้องสละราชบัลลังก์
ในปี ค.ศ.1875 มีการสถาปนาฝรั่งเศสเป็นครั้งที่ 3 ยุคของนโปเลียนสิ้นสุดลง ทำให้ประเทศฝรั่งเศสอ่อนแอ เป็นอย่างมาก ต้องเสียดินแดน ให้ผู้รุกราน ประจวบกับเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น เป็นเหตุให้ฝรั่งเศส ยิ่งบอบช้ำ ขึ้นไปอีก ภายหลัง ได้มี ีการเซ็นสัญญาสงบศึกที่ Vinchy แล้วฝรั่งเศสก็ประกาศตัวเป็นอิสรภาพ โดยความช่วยเหลือ จากฝ่ายพันธมิตรต่างๆ ในเดือนกันยายนปี 1944 นายพลชาลส์เดอโกล์ ก็ได้ดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล ในปี ค.ศ.1946 ซึ่งเป็นยุคของสาธารณรัฐที่ 4
ระหว่างปี ค.ศ. 1946-1958 นายพลเดอโกล์ กลับมาดำรงตำแหน่งผู้นำอีกครั้ง ระหว่างที่ฝรั่งเศสเข้าร่วมวิกฤติการณ์ใน แอลจีเรีย เขาทำให้ ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีสังคม เปลี่ยนไปสู่ระบบเศรษฐกิจ โดยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี และพัฒนาฝรั่งเศสดีขึ้นในหลายๆด้าน ทำให้เป็นที่ ยอมรับจากผู้คนที่นิยมในตัวเขา และให้สถาปนาฝรั่งเศส เป็นสาธารณรัฐ เป็นครั้งที่ 5 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1958-ปัจจุบัน ต่อมามีการชุมนุม ประท้วง รัฐบาลในกรุงปารีส ทำให้รัฐบาล ต้องยอมรับมติประชาชนที่ว่าด้วยการปฏิรูป กฎหมาย รัฐธรรมนูญนายพลเดอโกล์จึงขอลาออกจากตำแหน่ง
ในวันที่ 10 พ.ค. ปี ค.ศ. 1981 ฝรั่งเศสได้ประธานาธิบดีคนใหม่ ที่มาจากการเลือกตั้ง คือประธานาธิบดีฟรังซัวส์ มิตแตร์รองด์ ผู้สมัครจากพรรค สังคมนิยม จึงบริหารงานด้วยระบอบสังคมนิยม และอยู่ในต่ำแหน่ง 14 ปีด้วยกัน จนกระทั่งมีการเลือกตั้งใหม่ ซึ่ึงทำให้ นายฌาคส์ ชีรัค ผู้สมัครจาก พรรคสังคมนิยมเช่นเดียวกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง เข้ารับการเป็นประธานาธิบดีคนใหม่ในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ.1995
สำหรับความสัมพันธ์ของไทยและฝรั่งเศสนั้น มีมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของ สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช แต่ก็ต้องสิ้นสุดลง เพราะ การเมือง การปกครองของฝรั่งเศสกำลังวุ่นวาย .. ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสไม่ราบรื่น เพราะไทยพอใจทำการค้า กับจีน และมลายูมากกว่าประเทศ ทางยุโรป
จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฝรั่งเศสเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่จุดประสงค์ คือต้องการที่จะให้ไทยเป็นเมืองขึ้น แต่ด้วย พระปรีชาสามารถของพระองค์ทำให้รอดพ้นเหตุการณ์นั้นมาได้
ปัจจุบันประเทศไทยได้รับวัฒนธรรมต่างๆของฝรั่งเศสเข้ามา ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง.
.
กลับหน้าแรก I ไปหน้าวันสำคัญ

พรรณี ชุติวัฒนธาดา...... 14 กรกฎาคม 2548

วันชาติฝรั่งเศส 14 กรกฎาคม















































ย้อนไปเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 กองทัพทหาร และประชาชนได้พร้อมใจกันบุกคุกบาสติลย์ (Bastilles) เพื่อปลดปล่อย นักโทษ การเมือง ให้เป็นอิสระ อันคุกบาสติลย์นี้ถือว่าเป็นเครื่องหมายของการบีบบังคับและความอยุติธรรม ซึ่งเกิดจากการปกครอง โดยกษัตริย์ ที่ไร้ ทศพิธราชธรรม จึงประกาศวันที่ได้รับการปลดปล่อยนี้ให้เป็น..วันชาติของฝรั่งเศส (La Fête Nationale)
เมื่อหลายร้อยปีก่อน ประเทศฝรั่งเศสมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งถึงปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งราชวงศ์บูรบอง (Bourbon)บ้านเมืองอยู่ในระยะของสงครามอังกฤษ เพื่อแย่งชิงอาณานิคม ทำให้การเงินการคลังของประเทศล้มละลาย ประชาชนมีความเป็นอยู่อย่างอัตคัดขาดแคลน แต่ในทางกลับกัน ราชสำนักกลับมีความเป็นอยู่อย่างหรูหรา ฟุ่มเฟือย ชนชั้นขุนนางได้รับการยกเว้น ภาษี ส่วนประชาชน ที่มีความยากจนอยู่แล้วต้องถูกทางการรีดภาษีอย่างหนัก ทำให้เกิดความไม่พอใจอย่างมาก
ในตอนนั้น ชนชั้นกลางมีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เนื่องจากชนกลุ่มนี้มีการศึกษาดี ร่ำรวย แต่ไม่มี สิทธิในทาง การเมือง การปกครอง เทียบเท่าชนชั้นพระ และชนชั้นขุนนาง จึงต้องการเปลี่ยนแปลงระบบเก่า และได้กุมอำนาจทางเศรษฐกิจเอาไว้ โดยเข้าร่วม การปฏิวัติในอเมริกา ซึ่งมีสาระสำคัญในทางทฤษฎีว่าด้วยสิทธิิ ตามธรรมชาติิของมนุษย์ และสองนักปราชญ์แห่งยุคคือ วอลแตร์ กับ มองเตสกิเออ นำทฤษฎีดังกล่าวมาสอนประชาชน ในขณะเดียวกัน มาควิส เดอ ลา ฟาแยตต์ (Marquis de la Fayett) ซึ่งทำสงคราม ช่วยเหลือ ชาวอาณานิคม ในอเมริกาต่อต้านอังกฤษจนได้ชัยชนะ ก็นำความคิดนี้มาเผยแพร่ จึงทำให้ ประชาชนชาวฝรั่งเศส ดิ้นรนเรียกร้อง ให้ได้มาซึ่งสิทธิและเสรีภาพยิ่งขึ้น
เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1789 ประชาชนซึ่งมีความเป็นอยู่อย่างแร้นแค้น ได้บุกเข้าปล้นสะดมบ้านของพวกขุนนาง กรุงปารีสมีแต่่ ความวุ่นวาย ชนชั้นกลางได้รวมตัวกันก่อตั้งกองทหารรักษาการณ์แห่งชาติเข้าร่วม กับประชาชนทำลายคุกบาสติลย์ ซึ่งเท่ากับว่า เป็นการปลดแอกอำนาจการปกครองโดยกษัตริย์ นับเป็นการปฏิวัติครั้งใหญ่ยิ่ง และสำคัญของโลก
ผลกระทบของเหตุการณ์ได้แพร่ไปสู่ประเทศอื่นๆในยุโรป โดยเฉพาะในรัสเซีย กล่าวคือระยะแรกของการปฏิวัติ ประมาณปี ค.ศ. 1791ได้มีการ ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาใช้ กษัตริย์ต้องอยู่ใต้กฎหมาย และรัฐสภา ก็มีเพียงสภาเดียว คือ สภานิติบัญญัติ ชนชั้นกรรมาชีพมีบทบาทในการปกครอง แต่ด้วยความเกรงกลัวว่า การล้มล้างสถาบันกษัตริย์ ์จะแพร่ขยายไปทั่วยุโรป ทำให้ออสเตรียและปรัสเซียยกทัพรุกฝรั่งเศสแต่ไม่สำเร็จ ทางสภานิติบัญญัติจึงยกเลิกระบบ ราชาธิปไตยและประกาศเป็นประเทศสาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 และตั้งสภาใหม่ขึ้นมา และในปี 1793 ก็ได้สำเร็จโทษพระเจ้าหลุยส์และพระนางมารี อังตัวเนต์ด้วยการประหารชีวิตด้วยเครื่องประหาร กิโยตีน แม้ผลการปฏิวัติจะสำเร็จ แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังมีฐานะยากจนเหมือนเดิม รัฐบาลยังมุ่งแต่กอบโกยผลประโยชน์กัน จนมีบุคคลคนหนึ่งแสวงหาอำนาจโดย เป็นเครื่องมือ ให้ประชาชนเลื่อมใส และยึดอำนาจการปกครองมาเป็นของตน บุคคลผู้นี้คือ นโปเลียน โบนาปาร์ต

นโปเลียนได้กลายเป็นวีรบุรุษของชาติเพราะอาศัยความล้มเหลวของรัฐบาลสถาปนาตนเป็นแม่ทัพใหญ่คุมกองทัพ ออกไปรบชนะออสเตรเลียในปี ค.ศ.1797 ทั้งยังแพร่ขยายอาณาเขตไปทั่วยุโรป จนปี ค.ศ. 1804 ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดินโปเลียน และพยายาม ที่จะครอบครอง รัซเซียให้ได้ จึงทำสงคราม กับรัสเซีย และเป็นครั้งแรก ที่นโปเลียนแพ้ ทำให้ชนชาติต่างๆที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเกิดกำลังใจที่จะต่อต้าน เมื่อนโปเลียน ได้ถูกเนรเทศไปยังเกาะอัลบา พระเจ้าหลุยส์ได้กลับมาครองราชย์ใหม่แต่เพียงระยะสั้นๆ ในปี ค.ศ.1815 นโปเลียนหนีกลับมาได้ อีกครั้งและประกาศตนเป็นจักรพรรดิ รวบรวมกำลังทหารเข้าต่อสู้กับ ฝ่ายพันธมิตร ต่างๆ เกิดสงครามวอเตอร์ลูขึ้น แต่ฝรั่งเศสก็รบแพ้ ทำให้ นโปเลียนถูกส่งขังที่เกาะเซนต์เฮเลนา นับเป็นการสิ้นสุดการครอง บัลลังก์เพียง 100 วันของนโปเลียน แล้วเขาก็เสียชีวิตบนเกาะนี้
ในปี ค.ศ. 1821 พระ เจ้าหลุยส์ที่ 18 กลับมาขึ้นครองราชย์อีกครั้ง แต่พระอนุชาคือ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงพยายาม ฟื้นฟูระบบเก่าขึ้นมาอีก จึงมีการปฏิวัติขึ้นอีก พระเจ้าหลุยส์ฟิลิปซึ่งดำรงตำแหน่งกษัตริย์อยู่ ได้ถูกเนรเทศออกนอก ประเทศ และต่อมาก็ได้มีการสถาปนา สาธารณรัฐขึ้น เป็นครั้งที่ 2 โดยมีหลุยส์นโปเลียนทำการรัฐประหารตั้งตัวเองขึ้น เป็นจักรพรรดิ ซึ่งพระองค์ทำให้ชาติฝรั่งเศสมีความเข้มแข็ง มั่นคงขึ้น สภาพทุกอย่าง ในประเทศดีขึ้น และมีการขยาย อาณานิคมไปยังประเทศต่างๆ
ในปี ค.ศ. 1860 พระเจ้าหลุยส์นโปเลียน สถาปนาจักรพรรดิฝรั่งเศสในเม็กซิโกแต่ไม่สำเร็จ เพราะ ถูกอเมริกา ขัดขวางไว้ และยังต้องทำ สงคราม กับปรัสเซียอีก ฝรั่งเศสก็เป็นฝ่ายแพ้อีกครั้งและต้องเสียดินแดนในแคว้นอัลซาสให้แก่ ปรัสเซีย อีกด้วย ซึ่งทำให้พระองค์ต้องสละราชบัลลังก์
ในปี ค.ศ.1875 มีการสถาปนาฝรั่งเศสเป็นครั้งที่ 3 ยุคของนโปเลียนสิ้นสุดลง ทำให้ประเทศฝรั่งเศสอ่อนแอ เป็นอย่างมาก ต้องเสียดินแดน ให้ผู้รุกราน ประจวบกับเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น เป็นเหตุให้ฝรั่งเศส ยิ่งบอบช้ำ ขึ้นไปอีก ภายหลัง ได้มี ีการเซ็นสัญญาสงบศึกที่ Vinchy แล้วฝรั่งเศสก็ประกาศตัวเป็นอิสรภาพ โดยความช่วยเหลือ จากฝ่ายพันธมิตรต่างๆ ในเดือนกันยายนปี 1944 นายพลชาลส์เดอโกล์ ก็ได้ดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล ในปี ค.ศ.1946 ซึ่งเป็นยุคของสาธารณรัฐที่ 4
ระหว่างปี ค.ศ. 1946-1958 นายพลเดอโกล์ กลับมาดำรงตำแหน่งผู้นำอีกครั้ง ระหว่างที่ฝรั่งเศสเข้าร่วมวิกฤติการณ์ใน แอลจีเรีย เขาทำให้ ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีสังคม เปลี่ยนไปสู่ระบบเศรษฐกิจ โดยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี และพัฒนาฝรั่งเศสดีขึ้นในหลายๆด้าน ทำให้เป็นที่ ยอมรับจากผู้คนที่นิยมในตัวเขา และให้สถาปนาฝรั่งเศส เป็นสาธารณรัฐ เป็นครั้งที่ 5 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1958-ปัจจุบัน ต่อมามีการชุมนุม ประท้วง รัฐบาลในกรุงปารีส ทำให้รัฐบาล ต้องยอมรับมติประชาชนที่ว่าด้วยการปฏิรูป กฎหมาย รัฐธรรมนูญนายพลเดอโกล์จึงขอลาออกจากตำแหน่ง
ในวันที่ 10 พ.ค. ปี ค.ศ. 1981 ฝรั่งเศสได้ประธานาธิบดีคนใหม่ ที่มาจากการเลือกตั้ง คือประธานาธิบดีฟรังซัวส์ มิตแตร์รองด์ ผู้สมัครจากพรรค สังคมนิยม จึงบริหารงานด้วยระบอบสังคมนิยม และอยู่ในต่ำแหน่ง 14 ปีด้วยกัน จนกระทั่งมีการเลือกตั้งใหม่ ซึ่ึงทำให้ นายฌาคส์ ชีรัค ผู้สมัครจาก พรรคสังคมนิยมเช่นเดียวกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง เข้ารับการเป็นประธานาธิบดีคนใหม่ในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ.1995
สำหรับความสัมพันธ์ของไทยและฝรั่งเศสนั้น มีมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของ สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช แต่ก็ต้องสิ้นสุดลง เพราะ การเมือง การปกครองของฝรั่งเศสกำลังวุ่นวาย .. ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสไม่ราบรื่น เพราะไทยพอใจทำการค้า กับจีน และมลายูมากกว่าประเทศ ทางยุโรป
จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฝรั่งเศสเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่จุดประสงค์ คือต้องการที่จะให้ไทยเป็นเมืองขึ้น แต่ด้วย พระปรีชาสามารถของพระองค์ทำให้รอดพ้นเหตุการณ์นั้นมาได้
ปัจจุบันประเทศไทยได้รับวัฒนธรรมต่างๆของฝรั่งเศสเข้ามา ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง.
.
กลับหน้าแรก I ไปหน้าวันสำคัญ

พรรณี ชุติวัฒนธาดา...... 14 กรกฎาคม 2548

วันชาติฝรั่งเศส 14 กรกฎาคม



















































NAFTA

การค้าการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของการแลกเปลี่ยนสินค้าตอนนี้ ได้หันเหไปทางสินค้าที่ไม่ใช่ไม่เคยเป็นสินค้าส่งออกทั่วไป โดยสินค้าจำพวกมะม่วง มันฝรั่งแช่แข็ง น้ำแอปเปิล เห็ดสด กระเทียม ข้าวโพดหวาน และอะโวคาโด มีอัตราการเจริญเติบโตสูงเป็นหลักเลขสองตัวใช่ช่วงปี 1989-2001 ในขณะที่สินค้าส่งออกธรรมดาทั่วไปเช่น ส้ม สัปปะรดกระป๋อง เห็ดกระป๋อง น้ำส้ม น้ำแอปเปิลกลับพบกลับอัตราการเจริญโตไม่
ถึง5%ต่อปีในแต่ละประเภทในสินค้าจำพวกผักผลไม้ทั้งหมด160ประเภทที่อยู่ในรายชื่อของFAO (FoodandAgriculturalOrganization) กล้วยเป็นสินค้าที่มีปริมาณส่งออกและนำเข้าสูงที่สุด และตามมาด้วย มะเขือเทศ องุ่น และแอปเปิล
การค้าขายสินค้าจำพวกผักและผลไม้นั้นสูงในบางภูมิภาคของโลกเท่านั้นประเทศที่มีการนำเข้าผักผลไม้มากที่สุดคือกลุ่มสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
โดยสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาก็เป็นหนึ่งในผู้ส่งออกร่วมกับประเทศเม็กซิโก และจีน แต่ถ้าตัดปริมาณการการค้าขายภายในกลุ่มประเทศยุโรปแล้ว สหรัฐอเมริกาจะเป็นประเทศที่มีปริมาณส่งออกสูงที่สุด แต่ประเทศที่ผลิตสูงสุดกลับเป็นประเทศจีนที่มีปริมาณการบริโภคในประเทศสูงมากภูมิภาคเป็นทั้งผู้การส่งออกและนำเข้าสินค้าประเภทนี้หลักๆคือ สหภาพยุโรป กลุ่มนาฟต้า และโซนเอเชีย (โดยเฉพาะ เอเชียตะวันออก ตะวันออกเฉียงใต้ และใต้) และยังมีกลุ่มประเทศครึ่งโลกใต้(ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตเรีย บราซิล ชิลี นิวซีแลนด์) และผู้ส่งออกกล้วยหอม(ได้แก่ โคลัมเบีย คอสตาริกา เอกวาดอร์ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา ฟิลิปปินส์)ที่ตอนนี้กำลังเป็นผู้ค้าขายสินค้าผักผลไม้หลักๆต่อไป โดยสหภาพยุโรป กลุ่มนาฟต้า และโซนเอเชีย เป็นผู้ส่งออกที่สำคัญของตลาดผักผลไม้ทั่วไปของโดย และมีกลุ่มประเทศครึ่งโลกใต้ และผู้ส่งออกกล้วยหอมเป็นผู้นำในการส่งออกผลไม้สด และกลุ่มประเทศครึ่งโลกใต้ยังเป็นผู้ส่งออกน้ำผลไม้ที่สำคัญอีกด้วยประเทศครึ่งโลกใต้เป็นผู้ส่งออกที่สำคัญของผลไม้สดโดยเฉพาะผลไม้นอกฤดู เนื่องจากการมีช่วงฤดูเก็บเกี่ยวที่ตรงข้ามกับภูมิภาคส่วนใหญ่ของโลก โดยมีชิลีเป็นผู้ส่งออกที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศนี้ (มีมูลค่าเป็น35%ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของกลุ่มประเทศนี้) ตามมาด้วยแอฟริกาใต้(ซึ่งเน้นการส่งสู่กลุ่มประเทศยุโรป) และใหญ่
รองลงมาเป็นประเทศนิวซีแลนด์และอาร์เจนตินา โดยสินค้าส่วนใหญ่ของกลุ่มประเทศนี้เป็นผลใม้ในเขตอากาศอบอุ่น และมีปัจจัยเรื่องความใกล้ของที่ตั้งของประเทศเป็นปัจจัยของการตลาดการส่งออก เช่นตลาดหลักของนิวซีแลนด์และออสเตเรียคือ เอเชีย และจะไม่สนใจภูมิภาคอื่นที่ไกลกว่านี้เท่าไหร่นักนอกจากการส่งออกผลไม้แล้ว ยังมีน้ำผลไม้ที่เป็นสินค้าส่งออกหลัก โดยมีบราซิลเป็นผู้ส่งออกหลักของสินค้าประเภทนี้ในกลุ่มประเทศครึ่งโลกใต้ โดยส่งออกสูงถึงสามในสี่ของ
การส่งออกทั้งหมดในกลุ่มประเทศนี้ และเป็นผู้ส่งออกถึงมากกว่าครึ่งหนึ่งของน้ำผลไม้นำเข้าทั้งหมดของประเทศในกลุ่มยุโรปกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปกลับเด่นมากในแง่ของการค้าขายภายใน คือการส่งออกและนำเข้าในหมู่ประเทศสมาชิกด้วยกันเอง มีผู้ส่งออกหลักในกลุ่มคือ สเปน เนเธอร์แลนด์ อิตาลี เบลเยียม ฝรั่งเศส และเยอรมัน มีการนำเข้าผลไม้สดถึงเกือบครึ่งหนึ่งจากภายในกลุ่มประเทศสมาชิกด้วยกันเอง แต่ทางด้านน้ำผลไม้กลับนำเข้ามากกว่าครึ่งจากประเทศภายนอกกลุ่ม
การค้าขายในกลุ่มประเทศเอเชียให้ความสำคัญกับการส่งออกผลไม้ให้แก่ประเทศในภูมิภาคเดียวกันมาก เอเชียส่งออกสินค้าผลไม้ประเภทต่างๆยกเว้นผลไม้ที่ผ่านการแปรรูปแล้ว 6-7%สู่ตลาดโลก และนำเข้า8-11%ของการนำเข้าทั้งหมดในปี1999-2001 ส่วนทางด้านผลไม้แปรรูป เอเชียส่งออกถึง23% และนำเข้าสูงถึง18% โดยมีผู้ส่งออกหลักคือจีน ไทย และฟิลิปปินส์ และผู้นำเข้าหลักส่วนใหญ่เป็นประเภทที่มีพื้นที่จำกัดและแรงงานแพงคือ ญี่ปุ่นและเกาหลี โดยประเภทจีนเป็นผู้ส่งออกหลักในสินค้าทุกประเภทยกเว้นน้ำผลไม้ และเป็นคู่แข่งที่ใหญ่ที่สุดในตลาดผักและผลไม้ของเอเชีย โดยเฉพาะตลาดของประเทศญี่ปุ่นและอเมริกา ลักษณะเด่นอีกอย่างของตลาดเอเชียคือมีการพึ่งพิงสินค้านำเข้าจากกลุ่มนาฟต้าสูงมาก โดยมีการนำเข้าผักสด20% และ34%ในผลไม้สด

















เงินยูโรเป็นเงินสกุลใหม่ของโลก ประกาศอย่างเป็นทางว่าเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 1999 ซึ่งเวลานั้นยังไม่มีธนบัตรและเหรียญออกมา แต่เป็นการใช้ในระบบโอนเงินในธนาคาร และการชำระหนี้สินด้วยเช็ค หรือบัตรเครดิตในวงการตลาดการเงิน ตลาดหุ้น และตลาดอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ ในห้างสรรพสินค้า ใบรับเงินเดือน หรือราคาใบเสร็จต่างๆ ก็มีการบอกจำนวนราคาเป็นเงินยูโรคู่กับเงินตราของแต่ละประเทศสมาชิก
สาเหตุที่เกิดเงินยูโร สืบเนื่องมาจาก ในอดีตค่าเงินของประเทศในยุโรปมีการผันผวนตามค่าของเงินสกุล ดอลล่าร์อเมริกัน ผู้นำประเทศกลุ่มอียู(ตลาดร่วมยุโรป) เห็นว่าไม่ควรให้เงินดอลล่าร์มาเป็นตัวกำหนดเส้นทางเศรษฐกิจของยุโรปอีกต่อไป โดยเห็นควรสร้างระบบช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพยุงค่าเงินตราแห่งชาติของแต่ละประเทศสมาชิกและควรมีเงินสกุลเดียวกันเพื่อสร้างความเป็นเอกภาพทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศสมาชิก
ประเทศสมาชิกที่ประกาศใช้เงินยูโร มีทั้งหมด 12 ประเทศ ได้แก่ เบลเยี่ยม เยอรมัน สเปน ฝรั่งเศส กรีก ไอร์แลนด์(ไอร์แลนด์ใต้) อิตาลี ลักเซ็มเบิร์ก ปอร์ตุเกส เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย และฟินแลนด์
วันที่ 31 ธันวาคม 2001 เวลาเที่ยงคืน ถือเป็นวันสิ้นสุดการใช้เงินของประเทศสมาชิกอียู และธนบัตรและเหรียญยูโร จะนำออกมาใช้ครั้งแรกในวันที่ 1 มกราคม 2002
ธนบัตรและเหรียญเดิมของแต่ละประเทศสมาชิกอียู อนุโลมให้ใช้ได้ต่อไปจนถึงวันที่กำหนดหมดเขต คือวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2002 (ร้านค้ายุติรับเงินสกุลเดิมวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2002 ) เว้น 3 ประเทศ คือ
ฝรั่งเศส กำหนดวันหมดเขตการใช้เงินฟรังค์ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2002
เนเธอร์แลนด์ กำหนดวันหมดเขตการใช้เงินกิลเดนในวันที่ 28 มกราคม 2002
ไอร์แลนด์ กำหนดวันหมดเขตการใช้เงินปอนด์ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2002
สามารถนำเงินสกุลเดิมของประเทศสมาชิกอียูไปแลกเป็นยูโรได้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2002
เงินที่ฝากอยู่ในธนาคาร ทางธนาคารจะเปลี่ยนเป็นเงินยูโรโดยอัตโนมัติ
กรณีที่มีเงินเดิมหลงเหลือ สามารถนำธนบัตรไปแลกที่ธนาคารชาติ(แห่งเดียว)ได้จนถึงปี 2012 และสำหรับเหรียญสามารถนำไปแลกได้จนถึงปี 2005
ค่าของเงินยูโร(1 ยูโร)มีค่าประมาณการ ดังนี้
6.55957 ฟรังค์ - ฝรั่งเศส
40.339 ฟรังค์ - เบลเยี่ยม
1.95583 มาร์ก - เยอรมัน
166.386 เปเซตา - สเปน
312.03 ดรักมา – กรีซ
0.787564 ปอนด์ – ไอร์แลนด์
1936.27 เลียร์ – อิตาลี
40.3399 ฟรังค์ – ลักเซมเบิร์ก
200.482 เอสกุนโด – ปอร์ตุเกส
2.20371 กิลเดน – เนเธอร์แลนด์
13.7603 ชิลลิง – ออสเตรีย
5.94573 มาร์ก – ฟินแลนด์
1 ปอนด์ มีค่าประมาณ 1.554 ยูโร
ธนบัตรยูโรมีทั้งหมด 7 ใบ ได้แก่ ใบละ 500 200 100 50 20 10 และ 5 ยูโร
เหรียญยูโรมีทั้งหมด 8 เหรียญ ได้แก่ 2 ยูโร 1 ยูโร 50 ยูโรเซนต์ 20 ยูโรเซนต์ 10 ยูโรเซนต์ 5 ยูโรเซนต์ 2 ยูโรเซนต์ และ 1 ยูโรเซนต์ (1 ยูโร เท่ากับ 100 ยูโรเซนต์)